ชื่อ

ดร.ภญ.อำไพ ปั้นทอง

ตำแหน่งปัจจุบัน

รองศาสตราจารย์

สถานที่ติดต่อ

ภาควิชาเภสัชวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อ. เมือง จ. เชียงใหม่ 50200

ประวัติการศึกษา

  • 2507-2512 เภสัชศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหิดล
  • 2515-2517 เภสัชศาสตรมหาบัณฑิต สาขาเภสัชวิทยา มหาวิทยาลัยมหิดล
  • 2518-2522 ดุษฎีบัณฑิต สาขาเภสัชวิทยา มหาวิทยาลัยบอนน์ ประเทศเยอรมันนี

ความชำนาญพิเศษ

Pharmacological activities of medicinal plants, especially, analgesic, antipyretic and anti-inflammatory, bronchodilator, antihypertensive, anti-ulcer, gastro¬intestinal stimulant or relaxant as well as central nervous system activities.

Toxicology testing: acute, subacute, subchronic and chronic toxicity as well as dermal toxicity.
 

งานวิจัย

หัวหน้าโครงการวิจัย

  1. ฤทธิ์ ต้านการอักเสบ ระงับปวด และลดไข้ ของสารสกัดจากต้นโปร่งกิ่ว
  2. ฤทธิ์ระงับปวด ต้านการอักเสบ และหดหลอดเลือดดำของต้นอัคคีทวาร
  3. ฤทธิ์เป็นยาระบายของน้ำมะขาม
  4. พิษเฉียบพลัน พิษกึ่งเรื้อรัง และฤทธิ์ระคายเคืองต่อผิวหนัง ของผลิตภัณฑ์กำจัดศัตรูพืชไบโอเพส
  5. ฤทธิ์ระงับปวด และต้านการอักเสบของ น้ำมันเถาเอ็นอ่อนในสัตว์ทดลอง และ ประสิทธิภาพในผู้ป่วย ข้อเข่าเสื่อมเทียบกับไดโคลฟิแนคเจล

ผู้ร่วมวิจัย

  1. ฤทธิ์ต้านการอักเสบ ระงับปวด และลดไข้ และการศึกษาความเป็นพิษของน้ำมันมะพร้าวบริสุทธิ์

ผลงานตีพิมพ์

51 เรื่อง ผลงาน 5 ปี สุดท้าย (2003-2007)

  1. Taesotikul, T.; Panthong, A.; Kanjanapothi, D.; Verpoorte, R. and Scheffer, J.C.C. (2003). Anti-inflammatory, antipyretic and antinociceptive activities of Tabernaemontana pandacaqui Poir. J. Ethnopharmacol. 84(1): 31-35 แหล่งทุน Ministry of Foreign Affairs and Leiden University, The Netherlands
  2. Panthong, A.; Kanjanapothi, D.; Taesotikul, T.; Wongcome, T. and Reutrakul, V. (2003). Anti-inflammatory and antipyretic properties of Clerodendrum petasites S. Moore. J. Ethnopharmacol. 85(1): 151-156 แหล่งทุน โครงการพัฒนาบัณฑิตศึกษาและการวิจัยทางเคมี
  3. Trongsakul, S.; Panthong, A.; Kanjanapothi, D. and Tawat Taesotikul, T (2003). The analgesic, antipyretic and anti-inflammatory activity of Diospyros variegata Kruz. J. Ethnopharmacol. 85(2-3): 221-225 แหล่งทุน เมธีวิจัยอวุโส ศ.ดร. วิชัย ริ้วตระกูล
  4. Rujjanawate, C.; Kamjanapothi, D. and Panthong, A. (2003). Pharmacological effect and toxicity of alkaloids from Gelsemium elegans Benth. J. Ethnopharmacol. 89 (1): 91-95. แหล่งทุน สถาบันวิจัยจุฬาภรณ์
  5. Witawaskul, P.; Panthong, A.; Kanjanapothi, D; Taesotikul, T. and Lertprasertkul, N. (2003). Acute and subacute toxicities of the saponin mixture isolated from Schefflera lucantha Viguier. J. Ethnopharmacol. 89(1): 115-121 แหล่งทุน โครงการปริญญาเอกกายจนาภิเษก สำนักงานกองทุนการวิจัย
  6. วิรวรรณ วิสิฐพงศ์พันธ์, วีรวรรณ เรืองยุทธการณ์, ไชยยง รุจจนเวช, อำไพ ปั้นทอง, อุษณีย์ วินิจเขตคำนวณ, นิรัชร์ เลิศประเสริฐสุข (2546) การทดสอบความเป็นพิษของน้ำสกัดใบรางจืด. วารสารสมุนไพร ปีที่ 10(2) หน้า 23-36 แหล่งทุน คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  7. Intahphuak, S.; Panthong, A., Kanjanapothi, D., Taesotikul, T., and Reutrakul, V. (2004). Anti-inflammatory and analgesic activities of Mallotus spodocarpus Airy Shaw. J. Ethnopharmacol. 90(1): 69-72 แหล่งทุน โครงการปริญญาเอกกายจนาภิเษก สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
  8. Kanjanapothi, D.; Panthong, A.; Lertprasertsuke, N.; Taesothikul, T.; Rujjanawate, C.; Kaewpinit, D.; Sudthayakorn, R.; Choochote, W.; Chaithong, U.; Jitpakdi, A. and Pitasuwat, B. (2004). Toxicity of crude rhizome extract of Kaempferia galanga L. (Proh Hom). J. Ethnopharmacol. 90(2-3): 359-365 แหล่งทุน สถาบันวิจัยจุฬาภรณ์
  9. Panthong, A.; Kanjanapothi, D.; Taesotikul, T.; Pankummoon, A. and Reutrakul, V (2004). Anti-inflammatory activity of methanolic extracts from Ventilago harmandiana Pierre. J. Ethnopharmacol. 91(2-3): 237-242 แหล่งทุน เมธีวิจัยอวุโส ศ.ดร. วิชัย ริ้วตระกูล
  10. Thanaporn, S,; Jaijoy, K.; Thamaree, S.; Inganinan, K. and Panthong, A. (2005). Acute and subchronic toxicity study of the ethanol extract from the rhizome of Cyperus rotundus Linn. Mahidol University Journal of Pharmaceutical Sciences 32 (1-2): 15-22 แหล่งทุน สำนักงานสภาวิจัยแห่งชาติ
  11. Thanaporn, S,; Jaijoy, K.; Thamaree, S.; Inganinan, K. and Panthong, A. (2005). Acute and subchronic toxicity study of the ethanol extract from Alternanthera philoxeroides Griseb. Mahidol University Journal of Pharmaceutical Sciences 32 (1-2): 7-14 แหล่งทุน สำนักงานสภาวิจัยแห่งชาติ
  12. Thanaporn, S,; Jaijoy, K.; Thamaree, S.; Inganinan, K. and Panthong, A. (2006). Acute and subchronic toxicity study of the ethanol extract from Lonicera japonica Thumb. J. Ethnopharmacol. 107 (3): 370-373 แหล่งทุน สำนักงานสภาวิจัยแห่งชาติ
  13. Khonsung, P.; Nansupawat, S; Jesadanont, S.; Chantharateptawan , V. and Panthong, A (2007). Anti-inflammatory and analgesic activities of water extract of Malvastrum coromandelianum (L.) Garcke. Thai J. Pharmacol. 28(3), 2006 แหล่งทุน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  14. Panthong, A.; Supraditaporn, W.; Kanjanapothi, D.; Taesotikul, T. and Reutrakul, V.(2007). Analgesic, anti-inflammatory and venotonic effects of Cissus quadrangularis Linn. J. Ethnopharmacol. 110 (2): 264-270 แหล่งทุน ศูนย์นวัตกรรมทางเคมี:โครงการพัฒนาบัณฑิตศึกษาและการวิจัยทางเคมี
  15. Panthong, A.; Noekaew, P.; Kanjanapothi, K.; Taesotikul, T.; Anantachoke, N. and Reutrakul, V.(2007). Anti-inflammatory, analgesic and antipyretic activities of Garcinia hanburyi Hook f. J. Ethnopharmacol. 111(2): 335-340 แหล่งทุน ศูนย์นวัตกรรมทางเคมี:โครงการพัฒนาบัณฑิตศึกษาและการวิจัยทางเคมี
  16. Wongcome, T.; Panthong, A.; Kanjanapothi, D.; Taesotikul, T.; Lertprasertsuk, N. and Jesadanont, S. (2007). Hypotensive effect and toxicology of the extract from Coscinium fenestratum (Gaertn) Colebr. . J. Ethnopharmacol. 111 (3): 468-475 แหล่งทุน โครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

งานวิจัยที่กำลังทำ

  1. ฤทธิ์ ต้านการอักเสบ ระงับปวด และลดไข้ ของสารสกัดจากต้นโปร่งกิ่ว
    แหล่งทุน ศูนย์นวัตกรรมทางเคมี: โครงการพัฒนาบัณฑิตศึกษา และการวิจัยทางเคมี
    สถานภาพในการทำวิจัย 90%
  2. ฤทธิ์ระงับปวด ต้านการอักเสบ และหดหลอดเลือดดำของต้นอัคคีทวาร
    แหล่งทุน ศูนย์นวัตกรรมทางเคมี: โครงการพัฒนาบัณฑิตศึกษา และการวิจัยทางเคมี
    สถานภาพในการทำวิจัย 90%
  3. ฤทธิ์เป็นยาระบายของน้ำมะขาม
    แหล่งทุน สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ งบประมาณแผ่นดิน 2549-2551
    สถานภาพในการทำวิจัย 40%
  4. ฤทธิ์ต้านการอักเสบ ระงับปวด และลดไข้ และการศึกษาความเป็นพิษ ของน้ำมันมะพร้าวบริสุทธิ์
    แหล่งทุน สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา และสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ปี 2550-2551
  5. พิษเฉียบพลัน พิษกึ่งเรื้อรัง และฤทธิ์ระคายเคืองต่อผิวหนังของผลิตภัณฑ์กำจัดสัตรูพืชไบโอเพส
    แหล่งทุน กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
    สถานภาพในการทำวิจัย 50%
  6. ฤทธิ์ระงับปวดและต้านการอักเสบของ น้ำมันเถาเอ็นอ่อน ในสัตว์ทดลอง และประสิทธิภาพใน ผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อมเทียบกับไดโคลฟิแนคเจล
    แหล่งทุน โครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก รุ่นที่ 10 สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย และทุน
    ศูนย์นวัตกรรมทางเคมี: โครงการพัฒนาบัณฑิตศึกษา และการวิจัยทางเคมี
    เริ่ม พฤศจิกายน ปี 2550
    สถานภาพในการทำวิจัย 2%