เป็นเบาหวาน ไม่หายหรือ?

ความรู้ทั่วไป และงานวิจัย "ภูมิสมดุล ดูแลเบาหวาน" 

โรคเบาหวานถือว่าเป็นโรคที่คนไทยป่วยกันมาก เป็นโรคยอดฮิต 1 ใน 10 ของโรคที่คุกคามคนไทยมากที่สุด พบได้ในทุกช่วงวัย และยังมีแนวโน้มที่จะมีผู้ป่วยเเพิ่มมากขึ้นทุกปี ทั้งนี้ การเป็นโรคเบาหวานเกิดขึ้นจากหลายปัจจัย เช่น อาหาร พฤติืกรมการใช้ชีวิต การออกกำลังกาย กรรมพันธุ์ เป็นต้น

เชื่อหรือไม่ว่า มีคนอีกจำนวนมากที่ป่วยด้วยโรคเบาหวาน แต่ไม่รู้ตัว ทำให้ละเลยการดูแลสุขภาพอย่างถูกวิธี และอาจนำไปสู่โรคอื่น ๆ อันเป็นภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงได้ การจะรู้ว่าคุณอยู่ในข่ายเสี่ยง โรคเบาหวาน หรือไม่นั้น เริ่มจากการทำความเข้าใจโรคเบาหวานนี้อย่างถูกต้อง

โรคเบาหวานเกิดจากการทำงานของ "ฮอร์โมนอินซูลิน" (Insulin) ของร่างกายผิดปกติ ส่งผลให้อินซูลิน ซึ่งมีหน้าที่นำน้ำตาลในเลือดเข้าสู่เซลล์ต่าง ๆ เพื่อไปใช้เป็นพลังงาน ทำงานได้ไม่เต็มประสิทธิภาพ และเกิดการคั่งของน้ำตาลในเส้นเลือดแดง ส่งผลให้อวัยวะต่าง ๆ เสื่อม ซึ่งอาการนี้จะส่งผลให้เกิดโรค และอาการแทรกซ้อนต่ออวัยวะต่าง ๆ ได้

 

งานวิจัย "ภูมิคุ้มกันที่สมดุล" ที่เกี่ยวเนื่องกับโรคเบาหวาน

จากงานวิจัย ณ ศูนย์วิจัย และพัฒนามังคุดไทย ร่วมกับนักวิจัย และนักวิทยาศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ นำโดย ศาสตรจารย์ ดร.พิเชษฐ์  วิริยะจิตรา พบว่า ในผู้ป่วยที่เป็นเบาหวาน เม็ดเลือดขาวหลั่งสาร TNF-แอลฟ่า (ทีเอ็นเอฟ-แอลฟ่า), INF-แกมมา (อินเตอร์เฟอรอน-แกมม่า) และ IL-17 (อินเตอร์ลิวคิน-17) มากไป จนเกินความสมดุช โดย TNF-แอลฟ่า และ อินเตอร์เฟอรอน-แกมม่า จะเข้าไปทำลายเบต้าเซลล์ในตับอ่อน จนทำให้สร้างอินซูลินได้น้อยลง (เกี่ยวเนื่องกับเบาหวานชนิดที่ 1) และสารทั้งสองชนิดนี้ยังทำให้เกิดสถาวะดื้อต่ออินซูลินของเซลล์ (เกี่ยวเนื่องกับเบาหวานชนิดที่ 2) ส่วนอินเตอร์ลิวคิน-17 จะทำให้สภาวะการแพ้ภูมิตัวเองรุนแรงขึ้น จึงทำให้ปัญหาสุขภาพเบาหวาน ซึ่งเป็นอาการหนึ่งของการแพ้ภูมิตัวเองรุนแรงขึ้นตามไปด้วย

คณะนักวิจัย Operation Bim ได้ทำการวิจัย และพัฒนาสารเสริมประสิทธิภาพจากสารสกัดจากมังคุด งาดำ ถั่วเหลือง ฝรั่ง และบัวบก จนได้เป็นมังคุดแคปซูลเสริมอาหาร โดยได้ทำการพิสูจน์งานวิจัยนี้ โดยศูนย์วิจัยเทคโนโลยีชีวการแพทย์แล้วว่า งานวิจัยนี้สามารถลดการหลั่งของสาร ทีเอ็นเอฟ-แอลฟ่า, อินเตอร์เฟอรอน-แกมม่า และอินเตอร์ลิวคิน-17 ได้อย่างมีประสิทธิภาพสูง และปลอดภัย

*เชิญชมคลิป สัมภาษณ์ผู้ใช้งานวิจัย ดูแลปัญหาเบาหวาน

สรุปเนื้อหาคร่าว ๆ จากคลิปนี้  :  คุณสำเนียง ไม่รู้ตัวว่าเป็นเบาหวาน เกิดอาการน็อค ลูกๆ ต้องหามส่งโรงพยาบาลอย่างกระทันหัน หมอตรวจพบว่าน้ำตาลขึ้นสูงถึง 600 หมอให้ยาเบาหวานมาทาน ทานอยู่ 6 เดือน น้ำตาลลดลงเหลือประมาณ 250 และอยู่ที่ 250 คงที่ตลอดไม่ลดต่ำไปกว่านี้ มีคนรู้จักแนะนำงานวิจัยมังคุด Operation Bim จึงได้ทดลองใช้ ซึ่งทำให้คุณภาพชีวิตของคุณสำเนียงดีขึ้น...( เชิญฟังรายละเอียดทั้งหมดจากคลิปข้างต้นค่ะ )

 

สรุปเนื้อหาคร่าว ๆ จากคลิปนี้  :  เกิดอาการฉี่บ่อย ทั้งวัน ทั้งคืน และหิวน้ำตลอดเวลา แต่ตัวเองแข็งแรง เหล่าไม่กิน บุหรี่ไม่สอบ คิดว่าตัวเองไม่ได้เป็นอะไร แต่พอไปพบหมอ หมอบอกเป็นโรคเบาหวาน ตรวจแล้วน้ำตาลขึ้น 180  ต่อมาตรวจวัดความดัน พบอีกโรคคือความดัน  จึงทานยาที่หมอให้มาทั้งยาเบาหวาน และความดัน และอีก 2 โรคที่ตามมาคือ โรคกระเพาะ และโรคไขมันสูง  มีคนรู้จักแนะนำให้มาฟังการบรรยายของ ศาสตราจารย์ ดร.พิเชษฐ์  วิริยะจิตรา (สมัยนั้นที่ยังมีการประชุมตัวแทนอยู่)  จึงได้รู้จักงานวิจัยมังคุด Operation Bim และได้ทดลองใช้งานวิจัยกับตัวเอง ทำให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น...(เชิญฟังรายละเอียดทั้งหมดจากคลิปข้างต้นค่ะ)

 

สรุปเนื้อหาคร่าว ๆ จากคลิปนี้  :  คุณกาญจนา มีอาการอ่อนเพลีย ไม่มีแรง ปัสสาวะบ่อยมาก คืนหนึ่งๆ เกือบ 10 ครั้ง จึงตัดสินใจไปหาหมอ พอเล่าอาการให้หมอฟัง หมอสั่งให้ตรวจเลือด พบว่าน้ำตาลขึ้นสูง 150 หมอสั่งยาเบาหวานมาให้ทาน และนัดดูอาการทุก ๆ เดือน ทานยาได้เกือบ 2 ปี เริ่มมีอาการชา น้ำตาลสวิง 150-170 อาการหนัก ๆ คือ ตาพร่ามัว มองไม่ชัด หมอบอก อาจต้องฉีดอินซูลิน ต่อมามีอาการปัสสาวะติดขัด และมีการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ ติดเชื้อบ่อยมาก ๆ เดือนเว้นเดือนเลย หมอบอกเป็นอาการปกติของคนเป็นเบาหวาน วันหนึ่งดูทีวี เจองานวิจัย bim100 เคสเบาหวาน จึงตัดสินใจทดลองใช้งานวิจัย ใน 3 วันแรกรู้สึก กระปรี้กระเปร่า อาการอ่อนเพลียไม่มี พอใช้ได้เดือนเศษ ๆ คุณภาพชีวิตดีขึ้นมาก น้ำตาลลดเหลือ 107....( เชิญฟังรายละเอียดทั้งหมดจากคลิปข้างต้นค่ะ)

  

สรุปเนื้อหาคร่าว ๆ จากคลิปนี้  :  เริ่มจากมีตัวแมลงกัดเป็นแผลดำ และหายช้า ปกติตรวจร่างกายเป็นประจำเพราะมีพ่อเป็นเบาหวาน แม่เป็นมะะร็ง และแล้วก็ตรวจเจอจริงๆ ตรวจว่าเป็นเบาหวานครั้งแรกก็น้ำตาลขึ้น 300 เลย มีอาการชาข้างซ้ายทั้งหมด ชาตลอดเวลา เดินเต๊ะโต๊ะ เลือดไหล เล็บหลุด ก็ไม่รู้เรื่อง หมอจะให้ฉีดอินซูลิน แต่ขอต่อรองหมอว่าขอไปดูแลตัวเองก่อน ยังไม่อยากฉีดอินซูลิน เพราะทราบว่ามันมีผลข้างเคียงกับร่างกาย จนมีฝ้าขึ้นที่ตา ตามัว (เบาหวานขึ้นตา) จนมาพบกับงานวิจัย Operation Bim สีฟ้า ตอนนี้อาการทุกอย่างเป็นปกติ คุณภาพชีวิตดีขึ้นอย่างชัดเจน....( เชิญฟังรายละเอียดทั้งหมดจากคลิปข้างต้นค่ะ )

 

สรุปเนื้อหาคร่าว ๆ จากคลิปนี้  :  น้ำหนักลดลงจาก 72 กก. เหลือ 59 กก. พร้อมด้วยมีอาการตาฝ้า เหมือนมองอยู่ในหมอก ร่างกายอ่อนเพลีย ง่วงนอนตลอดเวลา ถึงขนาดนั่งสัปหงก กลางวันต้องนอนหลับตลอด ตัดสินใจไปหาหมอ และเล่าอาการให้หมอฟัง หมอฟังแล้วสันนิษฐานก่อนว่าน่าจะเป็นเบาหวาน จึงนัดตรวจเลือด พอผลเลือดออกมา น้ำตาลสูงถึง 500 ก็ทานยาเบาหวานมาตั้งแต่นั้นมา และได้มารู้จักงานวิจัยมังคุด Bim100 และได้ลองใช้งานวิจัย และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น....( เชิญฟังรายละเอียดจากคลิปข้างต้นค่ะ ) 

 

  

สรุปเนื้อหาคร่าว ๆ จากคลิปนี้  :  รองศาสตรจารย์ ดร.ภญ. อำไพ  ปั้นทอง ตอบคำถามเกี่ยวกับ การใช้สูตรงานวิจัย Operation Bim หากใช้มากเกินไป จะทำให้น้ำตาลลดลงต่ำกว่าเกณฑ์หรือไม่ ซึ่งอาจารย์ ตอบว่า งานวิจัยของเรา เป็นหลักการสมดุล คือ ภูมิคุ้มกันที่สมดุล  ฉะนั้น น้ำตาลจะไม่ลดลงมาต่ำกว่าเกณฑ์ แต่จะลดให้อยู่ในระดับสมดุลร่างกาย ซึ่งโรคที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน เกิดจากระดับภูมิคุ้มกันของเราไม่สมดุล ต่ำเกินไปก็เกิดการติดเชื้อโรคง่าย สูงเกินไปก็เกิดโรคเกี่ยวกับภูมิคุ้มกันเกิน....( เชิญชม และรับฟังอาจารย์อย่างละเอียดในคลิปข้างต้นค่ะ )  

 

  

สรุปเนื้อหาคร่าว ๆ จากคลิปนี้  : ศาสตราจารย์ พิเชษฐ์  วิริยะจิตรา หัวหน้าคณะนักวิจัย Operation Bim กล่าวถึงงานวิจัยภูมิคุ้มกันบำบัด ว่าคือ สิ่งที่ธรรมชาติสร้างให้กับเรามา เพื่อดูแลสุขภาพร่างกายของเรา และเราต้องมีภูมิคุ้มกันที่สมดุลเสมอ เพราะหากมีภูมิคุ้มกันน้อยเกินไป เราก็จะติดเชื้อโรคได้ง่าย เช่นติดเชื้อรา ไวรัส แบคทีเรีย หรือแม้กระทั่งเป็นมะเร็งได้ง่าย  หรือหากเรามีภูมิคุ้มกันที่มากเกินไป จะเกิดอาการที่เราเรียกว่าแพ้ภูมิตัวเองจนเกิดปัญหาสุขภาพต่าง ๆ เช่น SLE หรือ โรคพุ่มพวง เบาหวาน ข้อเสื่อม เป็นต้น ในหลักการของการดำรงชีวิตก็คือ ต้องภูมิคุ้มกันที่่สมดุล จึงจะไม่เกิดปัญหาสุขภาพใด ๆ ตามหลัก "ภูมิคุ้มกันที่สมดุล โดยใช้ ภูมิคุ้มกันบำบัด" ....( เชิญรับชม รับฟังรายละเอียดทั้งหมดจากคลิปข้างต้นค่ะ )

 

สรุปเนื้อหาจากคลิปนี้ รองศาสตราจารย์ ดร.ภญ. อำไพ ปั้นทอง หนึ่งในนักวิจัย Operation Bim ได้มาคุยให้ฟังถึงสาเหตุการเกิดของโรคเบาหวาน ในศาสตร์ของการวิจัย ด้วยหลักการ และเหตุผลต่าง ๆ ที่ทำให้เกิดของโรคน้ำตาลในเลือดสูง พร้อมทั้งวิธีดูแลป้องกันสำหรับผู้ที่มีความเสี่ยง หรือยังไม่ได้เป็นโรคนี้ ควรปฏิบัติตัวอย่างไรในด้านต่าง ๆ เพื่อไม่ให้เกี่ยวข้องกับโรคนี้....( เชิญชม และรับฟังอาจารย์บรรยายอย่างละเอียดอีกครั้งค่ะ )

 

*ข้อแนะนำในการปฏิบัติตัว เพื่อดูแลสุขภาพของผู้ที่เป็นเบาหวาน 

1. การควบคุมอาหาร ไม่รับประทานอาหารที่มีแป้ง, น้ำตาล และไขมันสูง ให้เน้นการรับประทานอาหารที่มีกากใยสูง เช่น ข้าวกล้อง ผัก ผลไม้ และยังต้องหลีกเลี่ยงอาหารที่มีเกลือโซเดียมสูงอีกด้วย เช่น ผักดอง กุนเชียง ไส้กรอก มันฝรั่งอบกรอบ ขนมกรุบกรอบ อาหารสำเร็จรูป และแช่แข็ง และซอสต่าง ๆ เป็นต้น

2. การควบคุมน้ำหนัก 

3. การออกกำลังกายเป็นประจำ

 

สรุปเนื้อหาคร่าว ๆ จากคลิปนี้  :  ป้าหนิงเป็นเบาหวาน และมีแผลที่ขา และนิ้วเท้า ต้องขูด ต้องตัดเนื้อทิ้ง หลังผ่าตัด ได้ทดลองใช้งานวิจัย Operation Bim  แผลแห้งหายเร็ว จากนั้นไปตรวจน้ำตาลตามแพทย์นัด แพทย์ถามป้าหนิงไปทำอะไรมา น้ำตาลลดเหลือ 104 ....( ฟังรายละเอียดทั้งหมดจากคลิปข้างต้นค่ะ )

 

ทำความรู้จัก และลักษณะของโรคเบาหวาน ชนิดที่ 1 และชนิดที่ 2

เบาหวานชนิดที่ 1

เบาหวานชนิดที่ 2

เกิดจากการที่ตับอ่อนไม่สามารถสร้างฮอร์โมนอินซูลินให้เพียงพอ เนื่องจากเบตาเซลล์ (beta cells) ของตับอ่อนถูกทำลายด้วยระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 1 จึงต้องได้รับอินซูลินด้วยการฉี หรือใช้เครื่องปั้มอินซูลิน

เบาหวานชนิดที่ 1  มีลักษณะดังนี้

- พบได้ประมาณ ร้อยละ 10 ของผู้ป่วยเบาหวาน

- พบได้ในผู้ที่มีอายุน้อยกว่า 35 ปี

- รูปร่างผอม

- เกิดโรคแบบเฉียบพลัน

- ปัสสาวะบ่อย

- กระหายน้ำ และอยากอาหารบ่อย

- น้ำหนักตัวลดลงอย่างรวดเร็ว

- มีอาการเหนื่อย หรือเพลียอ่อนแรง

- เกิดภาวะคั่งสารคีโตน (ภาวะน้ำตาลในเลือดสูง ร่วมกับเลือดเป็นกรด)

เป็นเบาหวานที่พบเป็นส่วนใหญ่  เกิดจากที่ตับอ่อนยังสามารถสร้างอินซูลินได้ แต่ไม่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย หรือเกิดภาวะดื้อต่ออินซูลิน ผู้ป่วยต้องมีการควบคุมอาหาร การใช้ยาชนิดกิน หรือใช้อินซูลินฉีดในบางราย

เบาหวานชนิดที่ 2  มีลักษณะดังนี้

- พบได้ประมาณร้อยละ 90 ของผู้ป่วย

- พบได้ทุกวัย

- รูปร่างอ้วน

- ตาพร่ามัว

- เป็นแผลหายช้า

- พบอาการชาบริเวณมือ และเท้า

- ติดเชื้อตามผิวหนัง ปาก หรือกระเพาะปัสสาวะ